วันนี้ใครบ้างไม่รู้จัก “เซซามิน” นักวิจัยดีเด่น หัวใจไอยราฯ รศ.ดร. ปรัชญา คงทวีเลิศ ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คนไทย เจ้าของฉายาระดับโลก “King of Sesamin” รศ.ดร. ปรัชญา คงทวีเลิศ นักวิจัยผู้ไขความลับมหัศจรรย์ในเมล็ดงา ปรบมือรัวๆ เลย!!! นักวิจัยไทยสุดเจ๋ง ค้นพบ “สารงาดำ” รักษามะเร็งครั้งแรกในโลก??? http://deep.tnews.co.th/content/191484/ เซซามินกับ …”WinNews” http://www.winnews.tv/news/4034 เซซามินกับ …”โลกวันนี้” http://www.lokwannee.com/web2013/?p=222106 … Continue reading
Numjai
เรื่องดีๆ กับเซซามินวันนี้ เซซามิน vs เบาหวาน (ดู ฟ้องด้วยภาพ) มีรายงานว่าสารเซซามินสามารถป้องกันการทำลายเซลล์ อันเนื่องจากภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูงได้ โดยป้องกันมิให้เซลล์เข้าสู่โปรแกรมการฆ่าตัวเอง โดยเฉพาะเซลล์ประสาท และปลายประสาท ส่งผลดีต่อผู้ป่วยเบาหวาน ซึ่งมักมีโรคแทรกซ้อนจากปัญหาปลายประสาทเสื่อม ขอขอบคุณ รศ.ดร. ปรัชญา คงทวีเลิศ จากคณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่เอื้อเฟื้อข้อมูลค่ะ … Continue reading
เรื่องดีๆ แบบนี้ ต้องขยาย มีข่าวดีมาก มาบอกครับ ผลงานวิจัยของนักวิจัยไทย ไอยรา ได้ยอมรับให้มีการตีพิมพ์ในวารสารต่างประเทศ ชื่อว่า In Vitro of Cellular and Developmental Biology คือเรื่อง “Effect of sesamin against cytokine production from influenza type A H1N1-induced peripheral blood mononuclear cells: computational and experimental studies” แสดงให้เห็นว่า เราคือผู้ที่ทำการศึกษาวิจัยเรื่องนี้ที่แท้จริง และเป็นคนแรกของโลก และเป็นการยืนยันว่า … Continue reading
เวลาเป็นของมีค่าที่สุดในโลก ใครยังไม่เคยเสียดายเวลา อย่าเพิ่งมาพูดเรื่องร่ำรวยหรือประสบความสำเร็จ เพราะยังห่างชั้นมากนัก ส่วนใครที่เริ่มเสียดายเวลา นั่นล่ะ คุณเริ่มเข้าใกล้นิสัยคนสำเร็จ และบรรทัดต่อไปนี้คือ “ตัวขโมยเวลา” ที่คุณต้องระวังให้ดี ถ้าเผลอใจให้มัน วันคืนของคุณจะหมดไปอย่างรวดเร็ว จากวันเป็นเดือน จากเดือนเคลื่อนไปเป็นปี จากปีสู่ปีก็คือหนึ่งชีวิตของคุณที่หมดไป โดยยังไม่ได้ทำอะไรเป็นชิ้นเป็นอันเลย 7 ตัวขโมยเวลาที่ต้องระวังมันกัดกินเวลาเราไปหมด 1. การนั่งรอโดยเปล่าประโยชน์ เช่น รอรถ รอคิว (ให้หาหนังสือมาอ่านซะ) 2. การรับสายโทรศัพท์ที่คุยเรื่อยเปื่อย (ให้หาทางตัดบทให้เร็วที่สุด) 3. การจับกลุ่มนินทาเรื่องชาวบ้าน (ให้หันมาสนใจชีวิตตัวเองจะดีกว่า) 4. การเล่น social media ทั้งวัน ส่องเฟสคนนั้นคนนี้ (ให้ใช้แต่พองาม) 5. การคิดกังวลถึงปัญหาที่ยังไม่เกิดขึ้น (จงอยู่กับปัจจุบัน!) … Continue reading